Home ข้อคิด 7 วิธีเปลี่ยนความคิดตัวเองอย่างไร ให้เป็น “คนมีกินมีเงินเก็บ”

7 วิธีเปลี่ยนความคิดตัวเองอย่างไร ให้เป็น “คนมีกินมีเงินเก็บ”

7 วิธีบริหารเงิ นมาแนะนำเพื่อที่เดือนหน้า จะได้ไม่ต้องอดมีพอกินพอใช้และเหลือออม

1.แบ่งเงิ นทันที

ทันทีที่เงิ นออก สิ่งแรกที่ต้องทำคือจัดสรรเ งินให้เป็นก้อนๆ ก้อนหนึ่งไว้ใช้จ่ายทั่วไปในชีวิตประจำวัน

ก้อนหนึ่งใช้หนี้ อีกก้อนหนึ่งไว้ให้รางวัลตัวเอง และต้องไม่ลืมแบ่งอีกก้อน เป็นเงิ นออมไว้เผื่ออนาคตด้วย

ซึ่งการจัดสรรเงิ นนี้สามารถประยุกต์ได้ตามรายรับรายจ่ายของแต่ละคน

2.ใช้จ่ายอย่างรู้ตัว

ถ้าของมันต้องมี คงไม่ดีถ้าไม่ซื้อความอย ากได้อย ากมีอย ากกิน อย ากซื้อที่เกินความจำเป็น

ในชีวิตเรานั้นมีกันทุกคน ดังนั้นเราสามารถซื้อทุกอย่าง ที่ต้องการได้ตราบเท่าที่มีเ งินจ่าย

แต่ต้องยึดกฎเหล็กว่า จะต้องไม่สร้างหนี้ และไม่ไปดึงเงิ นก้อนอื่น ที่แบ่งไว้แล้วก่อนหน้านี้มาใช้

3.ออมให้เป็นนิสัย

ไม่จำเป็นต้องอดทุกความสุข หมดสนุกกับทุกอย่าง เพราะเราวางแผนเองได้ว่า

จะออมเท่าไหร่ จะใช้วิธีออมทีละนิดอย่างสม่ำเสมอ หรือจะเข้มงวด

ตามสูตรออมขั้นต่ำร้อยละ 10 ของรายรับก็ได้ แต่อย่าละเลยการออมเ งิน

เพราะเงิ นส่วนนี้นี่แหละ ที่จะช่วยให้อยู่รอดในย ามคับขัน รวมถึงเป็นเงิ นสำหรับใช้จ่ายในอนาคต

ตามหลักแล้ว เราควรมีเ งินสำรอง ไว้ใช้ในกรณีฉุกเฉินอย่างน้อย 3 เดือน

เมื่อเกิดเหตุไม่คาดฝันขึ้น ก็ยังมีเ งินใช้ และหากบริษัทมีสวัสดิการ

ให้พนักงานเป็นกองทุนสำรองเลี้ยงชีพด้วยก็ยิ่งดี ซึ่งจะช่วยให้การออมเงิ นของเรานั้นง่ายขึ้น

หากเกิดกรณีที่จำเป็น ต้องใช้เงิ นหรือเกษียณงานไปแล้ว

ก็มั่นใจได้ว่ามีเงิ นก้อนให้ใช้แน่นอน

4.บันทึกรายรับรายจ่าย

การควบคุมการใช้เงิ นที่ดีที่สุด ก็คือบันทึกการใช้เงิ นของตนเอง ซึ่งประโยชน์จากการเขียนรายรับรายจ่ายทุกวัน

จะทำให้เรารู้รายละเอียดการใช้เงิ นในแต่ละวัน ว่ามีเ งินในกระเป๋าอยู่เท่าไหร่ หยิบใช้ได้มากน้อยแค่ไหน

เมื่อใช้จ่ายไปแล้วเหลือเท่าไหร่ อีกทั้งยังทำให้เราเห็นรายจ่ายส่วนเกินได้ง่าย

จึงช่วยให้ตัดค่าใช้จ่ายที่เกินความจำเป็นทิ้งได้ง่ายขึ้นตามไปด้วย

5.นำไปลงทุน

การลงทุนที่ดี คือการทำให้เ งินที่นอนอยู่นิ่งๆ ไปทำให้งอกเงย

ซึ่งเราสามารถนำเ งินไปลงทุนได้ ตามรูปแบบที่สนใจ

และเหมาะสมกับรายรับรายจ่าย อย่างไรก็ตามทุกการลงทุนมีความเสี่ยง

จึงจำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องศึกษาวิธีการลงทุน ให้เข้าใจเป็นอย่างดี

และเลือกปรึกษาคนที่ไว้ใจได้เท่านั้น

6.บริหารการชำระหนี้

หนี้ที่ว่าคือค่าบ้าน ค่ารถค่าบัตรเครดิต และอีกสารพัดหนี้

การวางแผนจ่ายหนี้จะช่วยให้การเงิ น ไม่ขาดสภาพคล่อง เช่น

ชำระหนี้ให้ตรงเวลา เพื่อที่จะได้ไม่ต้องเสียด อกเบี้ย

และค่าตามทวงหนี้ ชำระหนี้รายเดือนให้ได้ จำนวนเงิ นขั้นต่ำ

เป็นอย่างน้อยถ้ายังมีเ งินเหลือก็โปะหนี้ให้มากหน่อย

เพื่อลดเงิ นต้น หรือถ้าฝืดเคืองจริงๆ ควรเลือกจ่ายหนี้

ที่มี ดอ กเบี้ยสูงก่อนเพื่อตัดวงจรดอ กเบี้ยบานปลาย

7.รักษาสถานภาพทางการเงิ น

การบริหารเงิ น จะต้องมีวินัย และปฏิบัติต่อเนื่องอย่างเคร่งครัด

ถ้าเริ่มทำได้เป็นระบบอยู่ตัวแล้ว ก็ต้องรักษาสถานภาพทางการเงิ นไว้ให้ได้

ตามมาตรฐานในตอนแรกด้วย ทั้งนี้อย่าลืมแผนสำรอง สำหรับปรับการใช้เ งิน

ให้ยืดหยุ่นตามสถานการณ์ด้วย เพียงเท่านี้สภาพการเงิ น

ก็จะคล่องตัวและมีความมั่นคงในระยะย าว

ที่มา : tonkit360

Load More Related Articles
Load More By ผู้เขียน
Load More In ข้อคิด

Check Also

7 เรื่องดีของ “คนขี้งก” ที่ทำตามแล้วคุณจะรวย ชีวิตมีเก็บ

คนขี้งกเป็น การจัดประเภทให้กับคนกลุ่มหนึ่ง ที่มีความสาม … …