Home ข้อคิด 6 พฤติก รรมใช้เงิน “แบบไม่มีอนาคต” อนาคตได้ลำบาก ถ้ายังใช้แบบนี้

6 พฤติก รรมใช้เงิน “แบบไม่มีอนาคต” อนาคตได้ลำบาก ถ้ายังใช้แบบนี้

1.ไม่รู้ว่าตัวเองมีเงิ นสดเท่าไหร่

ได้เงิ นมาเท่าไหร่ ก็ใช้ไปเท่าที่มี

เงิ นหมดก็เบิกธนาคารออกมาใช้อยู่เรื่อยๆ

ไม่มีการกันเงิ นไว้เป็นก้อน เป็นประเภทว่า

ประเภทไหนใช้ได้เมื่อไร

พูดง่ายๆคือไม่เคยทำบัญชีรายรับรายจ่าย

ของตนเองอย่างเป็นกิจจะลักษณะ

2.รายได้ต่ำแต่มีรสนิยมสูง

คนประเภทนี้ คือพวกที่ชอบใช้จ่ายเ งินเกินตัว

จนแต่ไม่เจียม เวลาได้เงิ นมา ก็คิดถึงแต่เรื่อง

จะใช้เ งินอย่างไรจนหมดไม่เหลือเก็บ

แถมยังเหนียวหนี้ โดยเฉพาะหนี้บัตรเครดิต

ที่มักประวิงเวลาตัวเอง ด้วยการทยอยจ่าย

แต่จ่ายหนี้ขั้นต่ำ ทำให้ต้องเสียค่าดอ กเบี้ย

และค่าธรรมเนียมทบต้นหลายตลบ

กว่าจะรู้ตัว ก็หมดทั้งบัญชี ไม่มีเหลือ

ให้เบิกคราวนี้ละ ต้องกู้หนี้ยืมสิน

ให้เสียดอ กเบี้ยหนักขึ้นไปอีก

3.บริหารเ งินแบบไม่มีความรู้

เห็นใครเขาฮิตอะไร ก็แห่ไปลงทุนตามเขา

ซื้อทอง ซื้อหุ้นแบบไม่เคยทำการบ้าน

วันๆก็เอาแต่ตามกระแส โดยไม่สนใจศึกษา

หาความรู้ด้วยตนเอง รวมทั้งไม่มีการจัดสรรสินทรัพย์ที่ดีพอ

ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญ ในการเพิ่มพูนความมั่งคั่ง

สำหรับใครที่มีพฤติกรร ม การใช้จ่ายเงิ น

แบบข้างต้นอยู่ ควรเปลี่ยนพฤติกร รมแย่ๆ

ตั้งแต่ตอนนี้เป็นต้นไป และหันมาใส่ใจ

ในเรื่องของการใช้เงิ น อย่างมีสติชาญฉลาด

จะทำให้เรามีเงิ นเก็บไว้ใช้ ใยย ามจำเป็นอย่างแน่นอน

และนี่คือวิถีแห่งกินอยู่ เป็น 360 องศา แห่งการใช้ชีวิต

4.ไม่วางแผนการเงิ น

การมีเป้าหมายทางการเงิ น จำเป็นต้องวางไว้

ทั้งเป้าหมายในระยะสั้นและระยะย าว คนที่ไม่วางแผน

จึงมักจะพบว่า ตัวเองมักมีเรื่องเร่งด่วนอื่น

โผล่มาก่อน ถึงเป้าหมาย เป็นระยะๆ ระหว่างการออม

เช่น อย ากซื้อรถ เพราะต้องย้ายที่ทำงานใหม่

เดินทางไกล และเดินทางลำบากกว่าเดิม,

อย ากได้สมาร์ตโฟนรุ่นใหม่ ที่เห็นในโฆษณา

หรือแม้แต่อย ากต่อเติม ห้องนอนฯลฯ สิ่งเหล่านี้

ที่ไม่ได้อยู่ในแผน จะทำให้เราหยุดออม

สำหรับเป้าหมายวัยเกษียณ แล้วหันไปจ่าย

เพื่อเรื่องอื่นๆ ที่คิดว่าสำคัญกว่า

และไม่ได้อยู่ในแผนไว้แต่แรก

จนทำให้การออม สำหรับเป้าหมายหลัก

ลดระดับความเข้มข้นลงไปจากความต้องการ

5.ใช้จ่ายแบบไม่รอบคอบ

บางคนประมาท เพราะคิดว่าตัวเอง

มีหลักประกันในอนาคต เช่น คิดว่า

ยังมีเ งินจากกองทุน ประกันสังคม

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ หรือกองทุน

บำเหน็จบำนาญ ข้าราชการฯลฯ สำรองอยู่เสมอ

โดยหลงลืมไปว่า รายได้จากกองทุนเหล่านี้

พอถึงเวลาเข้าจริงๆ ก็ไม่เพียงพอ

สำหรับค่าใช้จ่ายหลังเกษียณ

หรือเหตุฉุกเฉิน ที่อาจจะเกิดขึ้นได้

จากความเจ็บไข้ได้ป่วย ที่ไม่ได้คาดคิดไว้ก่อน

6.ก่อหนี้ไว้จนเกินตัว

เพราะเป็นหนี้ จึงเป็นเหตุให้ต้องเอาเ งิน

ที่จะได้มาในอนาคต ไปหักหนี้ที่ก่อไว้เช่น

ปล่อยให้ตัวเอง เป็นหนี้บัตรเครดิต ทับถม

จนต้องกู้เงิ น จากกองทุน

สำรองเลี้ยงชีพ หรือเงิ นจากกองทุน

บำเหน็จบำนาญ เงิ นจากประกันชีวิต

จนท้ายที่สุด ไม่มีเ งินเหลือไว้ใช้จ่าย เมื่อเกษียณ

ที่มา:บทคัดย่อจากหนังสือยิ่งจ่ายยิ่งรวย

Load More Related Articles
Load More By ผู้เขียน
Load More In ข้อคิด

Check Also

7 เรื่องดีของ “คนขี้งก” ที่ทำตามแล้วคุณจะรวย ชีวิตมีเก็บ

คนขี้งกเป็น การจัดประเภทให้กับคนกลุ่มหนึ่ง ที่มีความสาม … …