
รายได้ของแต่ละคน ย่อมไม่เท่ากัน มีทั้งรายได้น้อย รายได้มาก
แต่หากเราตั้งใจที่จะออมเงิ นจริงๆ การที่เรามีรายได้น้อย
ไม่ใช่ข้ออ้าง ที่จะทำให้เราไม่ออมเ งินค่ะ
สำหรับใครที่มีรายได้ไม่เยอะ อย่างเช่นน้องๆ
ที่เพิ่งเรียนจบ เพิ่งไปทำงานวันแรกๆ หรือคนที่ได้เ งินเดือน
ยังไม่เยอะเงิ นมาก เราสามารถทำอะไรได้บ้าง
เพื่อให้เงิ นเก็บของเราเพิ่มมากขึ้น หากอย ากจะมีเงิ นเก็บเยอะขึ้น
วันนี้เราก็มีวิธี การออมเงิ นมาแช ร์ให้ทุกคน
ได้ลองไปทำตามกัน ใครที่มีรายได้น้อย รายได้ไม่มาก
เท่าคนอื่น แต่อย ากจะมีเงิ นเก็บ ให้เยอะขึ้น
ลองมาดูวิธี การออมเงิ น ที่เราสรุปมาให้ค่ะ
เก็บเ งินออม เ งินวิธีเก็บ เ งินวิธีออม เงิ นรายได้น้อย เก็บเงิ นไม่เก่ง
เงิ นเดือนน้อย
5 วิธีเก็บเงิ นให้ได้เยอะ สำหรับคนรายได้น้อย และออมเ งินไม่เก่ง
1.เก็บก่อนใช้
สมการที่เราต้องจำ และนำไปใช้ก็คือ
รายได้–เงิ นออม=ค่าใช้จ่ายค่ะ
สำหรับบางคนที่คิดว่า เดี๋ยวได้เงิ นมาแล้ว
ก็ใช้จ่ายไปก่อน เหลือเท่าไหร่ก็ค่อยเก็บ
บอกเลยว่ามีไม่กี่เปอร์เซ็นต์ ของคนที่คิดแบบนี้
จะออมเงิ นได้ค่ะ เพราะส่วนมาก
แทบจะไม่เหลือเงิ นไว้เก็บเลย
หรือถ้ามีเหลือ ก็จะน้อยมาก
ต่อไปนี้ลองปรับวิธีใหม่ค่ะ
ได้เ งินเข้ามา ไม่ว่าจำนวนมากหรือน้อย
จะเป็นเงิ นเดือน หรือค่าอะไรก็ตาม
หักไว้ก่อน 1 ส่วน เอาไปเก็บทันทีค่ะ
ยกตัวอย่าง เรามีรายได้ จากการทำงาน 10,000 บาท
หักไปเก็บเลยทันที 1,000 บาท แบบไม่มีข้อต่อรองค่ะ
เหลือเท่าไหร่ ก็ค่อยเอาเ งินส่วนนั้น ไปบริหารจัดการ
แบบนี้จึงจะทำให้เรามีเงิ นออมมากขึ้นค่ะ
2.แยกบัญชี
บางคนใช้แค่บัญชีเดียว ไม่ว่าจะเป็นเงิ นเดือน เงิ นโอนออก
เงิ นที่เราถอนออกไปใช้จ่ายนู่นนี่ ซึ่งพอเราทำ
ธุรกร รมทางการเงิ นมากๆเข้า เราก็จะไม่รู้เลยว่า
สุดท้ายแล้ว เรามีเงิ นเก็บเหลืออยู่เท่าไหร่
เงิ นเก็บของเรา เพิ่มขึ้นมากน้อยหรือไม่
ดังนั้นเราจึงควรแยกบัญชีไว้เลย ว่าเป็นบัญชีรายได้
และบัญชีเ งินเก็บ ซึ่งบัญชีรายได้ ก็คือบัญชีเงิ นเดือน
หรือบัญชีที่เรารับเงิ นเข้ามา สามารถเบิกถอน
และโอนเงิ นได้ตามปกติ จะทำบัตร ATM
คู่กับบัญชีนี้ด้วยก็ได้ค่ะ ส่วนอีกบัญชี
คือเงิ นเก็บ โดยที่บัญชีนี้ ไม่จำเป็น
ที่จะต้องมีบัตร ATM เน้นการฝากเ งินเข้าอย่างเดียว
ซึ่งบัญชีนี้ จะทำให้เราเห็นว่า มียอดเงิ นเพิ่มขึ้นมาเท่าไหร่
เมื่อครบ 6 เดือนหรือ 1 ปี ก็มาลองปรับสมุด
เช็คยอดเงิ นดูว่าเราเก็บออมไว้ได้เพิ่มมากเท่าไหร่แล้วค่ะ
3.แบ่งเงิ นใช้เป็นรายวัน
วิธีนี้เหมาะสำหรับผู้เริ่มต้น หรือว่าคนที่กำลังจะจริงจัง
กับการเก็บเงิ น แต่ว่าหักห้ามใจตัวเองไม่ได้ค่ะ
ซึ่งข้อดีของวิธีนี้ก็คือสามารถ ทำให้เราจำกัด
วงเงิ นในการใช้เงิ นของเรา ในแต่ละวันได้
ทำให้เราไม่ใช้เ งินเกินตัว
หรือว่าไม่ใช้เ งินฟุ่มเฟือยค่ะ
วิธีการก็คือ เราต้องคำนวณก่อนว่า
ในแต่ละวัน เราใช้เงิ นเท่าไหร่
ไม่ว่าจะเป็นค่าเดินทาง
ค่าอาหารและค่าใช้จ่าย
ในชีวิตประจำวันอื่นๆ เช่น ลองคำนวณมาแล้วว่า
เราใช้เงิ นวันละ 300 บาท ใน 1 อาทิตย์
คิดเป็นเงิ นทั้งหมด 2,100 บาท ก็เบิกเ งินมาเลย 2,100 บาท
แล้วก็แบ่งใช้เป็นวันไป แบบนี้ก็จะช่วยคุม
ไม่ให้เราใช้จ่ายเกินตัว
ไม่ต้องเอาเ งินไปซื้ออะไร ที่มันไม่จำเป็น
ถือว่าเป็นการบังคับตัวเองไปในตัว
และฝึกวินัยในการใช้เงิ นไปด้วยค่ะ
4.เก็บแบงค์50หรือว่าเก็บแบงค์ใหม่
วิธีเก็บแบงค์ 50 หรือว่าการเก็บแบงค์ใหม่
ก็เป็นวิธีที่ค่อนข้างได้รับความนิยมค่ะ
หลายๆคนก็ทำกันอยู่ เพราะว่าแบงค์ 50 เป็นแบงค์
ที่ไม่ได้มีมูลค่าเยอะเกินไป แล้วก็ไม่น้อยจนเกินไป
เวลาเก็บก็จะไม่ค่อยกระทบกับเงิ นในกระเป๋าเท่าไหร่
หรือบางคน ก็เลือกเก็บเป็นแบงค์ใหม่ ไม่ว่าจะเป็น
ใบละ 20 100 500 หรือ 1,000
บางคนก็เลือกจะเก็บทั้งหมด ถ้าเป็นแบงค์ใหม่
ที่ยังไม่มีรอยพับ ลองเก็บใส่กล่องไปเรื่อยๆ
พอครบ 1 ปี ก็ค่อยเอาออกมาเช็คจำนวนเงิ นค่ะ
5.หยอดกระปุก
อย่าดูถูกพลังของเศษเหรียญค่ะ ไม่ว่าจะเป็นเหรียญ 5 เหรียญ 10
เหรียญบาท ถึงแม้ว่าจะมีมูลค่าน้อย แต่ว่าถ้าเราเก็บเยอะๆ
ก็จะสามารถเอาไปใช้ประโยชน์ได้ อย่างมากมาย เพราะไม่ว่า
จะมีมูลค่ามากน้อยก็ถือว่าเป็นเงิ น การที่เราเก็บแบบนี้
อาจจะไม่ได้ทำให้เราร่ำรวย หรือว่ามีเงิ นมากขึ้น ใน 1 ปี
แต่ว่าเป็นการฝึกนิสัย ของการในการออม ฝึกนิสัยของการรู้คุณค่า
ของเงิ นทุกบาททุกสตางค์ เพราะว่าไม่ว่าจะเล็กน้อยยังไงก็เป็นเงิ นค่ะ